วันพุธที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2554

แผนการจัดการเรียนรู้ แบบบูรณาการ(พอเพียง)

   แผนการจัดการเรียนรู้
                                    ชื่อวิชา       วิถีชีวิตพอเพียง   (2000 – 1309)                หน่วยที่  3
                      ชื่อหน่วย     อาชีพของคนไทยตามวิถีพอเพียง                    เวลา  2  ชั่วโมง

1.  สาระสำคัญ
               การประกอบอาชีพเพื่อให้มีกินมีใช้   เป็นสิ่งสำคัญในวิถีชีวิตและการดำรงชีพ   อาชีพที่สร้างรายได้เพื่อเลี้ยงชีพและครอบครัวนั้น  อยู่ด้วยกันหลายอาชีพ ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง  ในการสร้างอาชีพที่คนไทยรู้จักกันในนามของ  หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์   เป็นแนวทางหนึ่ง ในการสร้างอาชีพให้แก่ชุมชนและสามารถยกระดับฐานะความเป็นอยู่ของคนในชุมชนให้ดีขึ้น      โดยการผลิตหรือจัดการทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่น ให้เป็นสินค้าที่มีคุณภาพ สอดคล้อง               กับวัฒนธรรมในแต่ละท้องถิ่น และหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

2.   จุดประสงค์การเรียนรู้
1.      บอกความหมายและความสำคัญของอาชีพและปัจจัยในการเลือกประกอบอาชีพได้
2.      วิเคราะห์อาชีพท้องถิ่นโดยใช้หลักคิดตามแนวหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได้

3.   สาระการเรียนรู้
                1.  ความหมายและความสำคัญของอาชีพ
                2. ประเภทของอาชีพ
3. ปัจจัยในการประกอบอาชีพ  
                4.  อาชีพของคนไทย    

4.   สมรรถนะประจำหน่วยการเรียนรู้
1.  แสดงความรู้เกี่ยวกับอาชีพของคนไทยที่มีวิถีพอเพียง
                2. วิเคราะห์อาชีพโดยใช้หลักคิดตามแนวหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

5.   การวิเคราะห์ตามแนวหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักความพอประมาณ
1. วิเคราะห์แนวทางประกอบอาชีพบนพื้นฐานวิถีชีวิตดั้งเดิม
2.  นำทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้อย่างคุ้มค่า

หลักความมีเหตุผล
                  1.  ลดความเสี่ยงในการประกอบอาชีพ
                        2.  ช่วยสืบสานอาชีพดั้งเดิมของคนไทย
                การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดี
1.  มีรายได้ที่ยั่งยืน  สร้างสังคมให้อยู่อย่างมีความสุข
2.  สร้างความสัมพันธ์ที่ดีในครอบครัว
เงื่อนไขความรู้
          1.  ความหมายและความสำคัญของอาชีพ
                2.  ปัจจัยในการกำหนดอาชีพ
                3.  อาชีพของคนไทย
                เงื่อนไขคุณธรรม
1.  ขยันและอดทน
2.  รับผิดชอบ  รอบคอบ
3.  ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
4.  มีความซื่อสัตย์ และมีเหตุผลในการอยู่ร่วมกัน
       ลงสู่มิติ  4  ด้าน
เศรษฐกิจ
 การประกอบอาชีพของคนไทยทำให้ช่วยสร้างรายได้ สร้างงานให้กับครอบครัว  ชุมชน ช่วยลดการเสียดุลทางการค้า
สังคม
ทำให้สังคมอยู่ดีมีสุข ลดปัญหาการว่างงาน  เกิดความรัก  ความสามัคคีในครอบครัวและชุมชน  เป็นแบบอย่างที่ดีในการประกอบอาชีพ
วัฒนธรรม
                ช่วยสืบสานอาชีพดั้งเดิม และภูมิปัญญาท้องถิ่นของคนไทย และพัฒนาอาชีพใหม่ให้เกิดขึ้นเป็นผลิตภัณฑ์ชุมชน
สิ่งแวดล้อม
มีการใช้ทรัพยากรในชุมชนอย่างคุ้มค่า  ลดการเกิดของเสียในชุมชน
6.   กิจกรรมการเรียนรู้
1.  สนทนาจุดประสงค์การเรียนรู้
          2.  ครูให้นักเรียน ดูรูปภาพการประกอบอาชีพในแต่ละอาชีพ 
                3.  ให้นักเรียนอภิปรายอาชีพที่ใช้ทรัพยากรในท้องถิ่น
                4.  แบ่งกลุ่มนักเรียนเป็นกลุ่ม ๆ ละ  3 - 5 คน
                     4.1  ให้นักเรียนบอกอาชีพในท้องถิ่นของตนเองมาอย่างน้อย  5  อาชีพ   บอกประเภทและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการประกอบอาชีพ นำมาอภิปรายกลุ่ม
                     4.2  ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มบอกทรัพยากรทีมีในท้องถิ่น  นำมาวิเคราะห์อาชีพในประเด็นต่อไปนี้
                      1)  ควรจะประกอบอาชีพอะไร
                                    2)  วิเคราะห์ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการเลือกอาชีพ บนพื้นฐานวิถีชีวิตไทยและสภาพพื้นฐานในสังคมที่ตนเองอาศัยอยู่
                5.  นักเรียนร่วมกันอภิปรายและแสดงความคิดเห็น
6.  ครูเพิ่มเติมเนื้อหาสาระและร่วมกันสรุปสาระการเรียนรู้

7.   สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1.  ใบความรู้ และใบงาน       
2. 
 ชุดสื่อนำเสนอ  power point  เรื่อง อาชีพของคนไทย
3.  รูปภาพอาชีพต่าง ๆ
4.  ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ชุมชน
5.  อินเตอร์เน็
     http://dnfe5.nfe.go.th/ilp/42033/42033-1.htm   ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ     
     http://www.geocities.com/jea_pat/submenu59.html  ภูมิศาสตร์กับวิถีชีวิตไทย
                   http://www.kingdomplaza.com/article/trade/news.php?nid=2   ประเภทของอาชีพ

8.   การวัดและประเมินผล
        8.1  วิธีการวัดและประเมินผล
                    1.
 ประเมินใบงาน
 2.  ประเมินกลุ่ม
 3.  ทดสอบหลังเรียน
                              
       8.2   เครื่องมือวัดและประเมินผล
           
         1.  แบบประเมินใบงาน
 2.  แบบประเมินกลุ่ม
          3.
 แบบทดสอบหลังเรียน
       8.3   เกณฑ์การวัดและประเมินผล
                   1.  ใบงาน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60
                   2.
 ทดสอบก่อน/หลังเรียน   ผ่านเกณฑ์ร้อยละ  60       

9.  เอกสารอ้างอิง
         1.   http://dnfe5.nfe.go.th/ilp/42033/42033-1.htm  ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ
              2.   http://www.geocities.com/jea_pat/submenu59.html ภูมิศาสตร์กับวิถีชีวิตไทย
              3.  http://www.kingdomplaza.com/article/trade/news.php?nid=2  ประเภทของอาชีพ

10.  บันทึกหลังการสอน
ผลการใช้แผนการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ผลการเรียนรู้ของนักเรียน
……………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………..
ปัญหาที่พบ
……………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………..
ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………..

ลงชื่อ…………………………………..ครูผู้สอน
                                                             (……………………………………)



ทะเบียนสื่อการเรียนรู้

    ทะเบียนสื่อการเรียนรู้  วิชา.......................................... รหัส.............................
               ระดับ ........... ชั้นปี่ที่.........แผนกวิชา...............................................


ลำดับ
                      รายการ

  จำนวน
วัน  เดือน  ปี
      หมายเหตุ































































































































   รายการยืมสื่อการเรียนรู้  วิชา.......................................... รหัส.............................
               ระดับ ........... ชั้นปี่ที่.........แผนกวิชา...............................................


ลำดับ
                    รายการ

จำนวน
วัน  เดือน  ปี
       ที่ยืมสื่อ
        ผู้ยืม                
    ผู้รับคืน